Compulsory Motor Insurance It is required by law that all vehicles must have compulsory motor insurance policy which covers injury or death of any persons from car accident.
Most of vehicle owner also purchase voluntary motor insurance which covers own damage of the vehicles and additional third party liability in excess of the compulsory motor insurance.
Who get cover under Compulsory Motor Insurance?
What is covered under Compulsory Motor Insurance?
Compared Sheet
Road Victim |
Preliminary Limit |
Surplus Limit |
Driver at insured car |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.15,000 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.35,000 Death after hospitalization not over than Bt.50,000 |
Nil |
Road Victim Excluded Driver at insured car |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.15,000 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.35,000 Death after hospitalization not over than Bt.50,000 |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.50,000 (included Preliminary Limit) 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.200,000 (included Preliminary Limit) Death after hospitalization not over than Bt.200,000 (included Preliminary Limit) 3. In-patient hospitalization compensate diary at Bt.200 per day and maximum 20 days |
Is it need to prove guilty on legal result and what is different in compensation?
*Remark : Surplus Limited is combined 1), 2) and 3) should not over Bt.204,000 per person and not over Bt.5,000,000 per accident (for car which is registered not over than 7 seat) and Bt.10,000,000 per accident (for car which is registered over than 7 seat).
Legal Result |
Third Party (outside insured car) |
Passenger (inside insured car) |
Driver |
Guilt |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.50,000 (included Preliminary Limit) 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.200,000 (included Preliminary Limit) Death after hospitalization not over than Bt.200,000 (included Preliminary Limit) *3. In-patient hospitalization compensate diary at Bt.200 per day and maximum 20 days |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.50,000 (included Preliminary Limit) 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.200,000 (included Preliminary Limit) Death after hospitalization not over than Bt.200,000 (included Preliminary Limit) *3. In-patient hospitalization compensate diary at Bt.200 per day and maximum 20 days |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.15,000 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.35,000 Death after hospitalization not over than Bt.50,000 *3. In-patient hospitalization compensate diary at Bt.200 per day and maximum 20 days |
Not Guilt |
1. Bodily Injury / medical expenses - Not Covered 2. Death, dismemberment, and disability - Not Covered Death after hospitalization - Not Covered |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.15,000 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.35,000 Death after hospitalization not over than Bt.50,000 |
1. Bodily Injury / medical expenses not over than Bt.15,000 2. Death, dismemberment, and disability not over than Bt.35,000 Death after hospitalization not over than Bt.50,000 |
*Remark : Surplus Limited is combined 1), 2) and 3) should not over Bt.204,000 per person and not over Bt.5,000,000 per accident (for car which is registered not over than 7 seat) and Bt.10,000,000 per accident (for car which is registered over than 7 seat).
การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ(พ.ร.บ) นั้นเป็นประกันภัยที่รถยนต์ทุกคันที่จดทะเบียนกับการขนส่งทางบกนั้น ต้องมีตามกฏหมาย เพื่อที่จะให้คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ที่ได้รับการบาดเจ็บ หรือ เสียชีวิตจากการรถหรือการใช้รถเจ้าของรถยนต์ส่วนใหญ่ เลือกที่จะซื้อประกันภัยการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ(พ.ร.บ) นี้ควบคู่ไปกับการประกันภัยภาคสมัครใจ เพื่อที่จะความคุ้มครองความเสียหายให้กับตัวรถยนต์ของตัวเอง รถยนต์คู่กรณี ทรัพย์สินต่างๆของบุคคลภายนอก รวมถึงคุ้มครองการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตของบุคคลในรถ และบุคคลภายนอกในส่วนเกินของกรมธรรม์ พ.ร.บ นั้นเองใครบ้างที่ได้รับความคุ้มครองภายใต้กรมธรรม์การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ(พ.ร.บ) นี้ ?
กรมธรรม์การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ(พ.ร.บ) นี้คุ้มครองอะไรบ้าง ?
ตารางเปรียบเทียบ
ผู้ประสบเหตุ |
ค่าเสียหายเบื้องต้น |
ส่วนเกินของค่าเสียหายเบื้องต้น |
ผู้ประสบอุบัติเหตุเป็นผู้ขับขี่ในรถที่เอาประกัน |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกายหรืออนามัย ไม่เกิน 15,000 บาท 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 35,000 บาท เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 50,000 บาท |
|
ผู้ประสบอุบัติเหตุอื่นๆ (ยกเว้นผู้ขับขี่ในรถที่เอาประกัน) |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกายหรืออนามัย ไม่เกิน 15,000 บาท 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 35,000 บาท เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 50,000 บาท |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย ไม่เกิน 50,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 200,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 200,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) 3. ค่าชดเชยรายวันๆละ 200 บาท ไม่เกิน 20 วัน สำหรับกรณีเข้ารักษาพยาบาลในฐานะคนไข้ใน |
*หมายเหตุ : ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้นนี้ จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุดสำหรับ 1), 2) และ 3) รวมกันไม่เกิน 204,000 บาท ต่อหนึ่งคน และรวมกันไม่เกิน 5,000,000 บาทต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง(สำหรับรถยนต์นั่งหรือรถบรรทุกผู้โดยสารที่ไม่เกินเจ็ดคน) และไม่เกิน 10,000,000 บาทต่ออุบัติแต่ละครั้ง (สำหรับรถยนต์ทีมีที่นั่งเกินเจ็ดคนหรือรถบรรทุกผู้โดยสารรวมทั้งผู้ขับขี่เกินเจ็ดคน)
อย่างไรก็ตามการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์พรบ.นี้จะต้องพิจารณาความผิดตามกฏหมายด้วย
ผลพิสูจน์ |
ผู้ประสบอุบัติเหตุเป็นบุคคลภายนอกรถที่เอาประกันภัย |
ผู้ประสบอุบัติเหตุเป็นบุคคลภายในรถที่เอาประกันภัย |
ผู้ประสบอุบัติเหตุเป็นผู้ขับขี่รถที่เอาประกันภัย |
ฝ่ายผิด |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย ไม่เกิน 50,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 200,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 200,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) *3. ค่าชดเชยรายวันๆละ 200 บาท ไม่เกิน 20 วัน สำหรับกรณีเข้ารักษาพยาบาลในฐานะคนไข้ใน |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย ไม่เกิน 50,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 200,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 200,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้น) *3. ค่าชดเชยรายวันๆละ 200 บาท ไม่เกิน 20 วัน สำหรับกรณีเข้ารักษาพยาบาลในฐานะคนไข้ใน |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย ไม่เกิน 15,000 บาท 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 35,000 บาท เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 50,000 บาท *3. ค่าชดเชยรายวันๆละ 200 บาท ไม่เกิน 20 วัน สำหรับกรณีเข้ารักษาพยาบาลในฐานะคนไข้ใน |
ฝ่ายถูก |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย -ไม่คุ้มครอง 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร -ไม่คุ้มครอง สียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาล -ไม่คุ้มครอง |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย ไม่เกิน 15,000 บาท 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 35,000 บาท เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 50,000 บาท |
1. การบาดเจ็บ / ค่ารักษาพยาบาล ต่อร่างกาย หรืออนามัย ไม่เกิน 15,000 บาท 2. การเสียชีวิต, สูญเสียอวัยวะ และทุพพลภาพถาวร ไม่เกิน 35,000 บาท เสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาลไม่เกิน 50,000 บาท |
*หมายเหตุ : ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้นนี้ จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุดสำหรับ 1), 2) และ 3) รวมกันไม่เกิน 204,000 บาท ต่อหนึ่งคน และรวมกันไม่เกิน 5,000,000 บาทต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง(สำหรับรถยนต์นั่งหรือรถบรรทุกผู้โดยสารที่ไม่เกินเจ็ดคน) และไม่เกิน 10,000,000 บาทต่ออุบัติแต่ละครั้ง (สำหรับรถยนต์ทีมีที่นั่งเกินเจ็ดคนหรือรถบรรทุกผู้โดยสารรวมทั้งผู้ขับขี่เกินเจ็ดคน)
Voluntary Motor Insurance A motor vehicle policy covers loss of or damage to insured motor vehicles and legal liability to third parties arising out of the use of motor vehicles. The coverage can be limited to third party only, third party fire and theft or a fully comprehensive basis. The policy can be extended to cover bail bond, personal accident and medical expenses, if required. Where three or more vehicles are insured the insurer is often prepared to give a fleet discount on the premium.
How is different ?
Coverage |
1st Class |
2nd Class |
3rd Class |
2 Plus |
3 Plus |
1) Third Party Liability |
|||||
- Bodily Injury or Death of Third Party and Passenger |
|
|
|
|
|
- Third Party Property Damage |
|
|
|
|
|
2) Own vehicle damage |
|||||
- Loss from Collision |
|
|
|
|
|
- Theft Loss or Fire |
|
|
|
|
|
3) Additional Coverage |
|||||
- Personal Accident on Death, Dismemberment, Permanent Disability (Driver… person and Passenger…person) |
|
|
|
|
|
- Medical Expense (Driver… person and Passenger…person) |
|
|
|
|
|
4) Bail Bond |
|
|
|
|
|
*Remark : coverage should arise from accidental collision with vehicle which have self-propel combustion only
การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ ให้ความคุ้มครองต่อความเสียหายต่อรถยนต์ที่เอาประกันภัย และรถยนต์คู่กรณี ทรัพย์สินบุคคลภายนอก ความรับผิดตามกฏหมายต่อบุคคลภายนอกรวมถึงผู้โดยสาร ในส่วนที่เกินการประกันภัยภาคบังคับ(พรบ.)
ความคุ้มครองนั้นจะระบุวงเงินความคุ้มครองตามตารางกรมธรรม์ในส่วน การสูญเสียชีวิต บาดเจ็บ และทรัพย์สินของบุคคลภายนอก, ความเสียหายต่อตัวรถยนต์ที่เอาประกันภัยเอง ในกรณีเสียหายจากการชน สูญหาย ไฟไหม้ (ขึ้นอยู่กับประเภทกรมธรรม์) รวมถึงการเสียชีวิต บาดเจ็บของผู้โดยสาร และวงเงินประกันตัวผู้ขับขี่
การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร?
ความคุ้มครอง |
ประเภท 1 |
ประเภท 2 |
ประเภท 3 |
ประเภท 2 พิเศษ |
ประเภท 3 พิเศษ |
---|---|---|---|---|---|
1) ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก |
|||||
- ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยเฉพาะส่วนเกินวงเงินสูงสุดตาม พรบ. |
|
|
|
|
|
- ความเสียหายต่อทรัพย์สิน |
|
|
|
|
|
2) รถยนต์เสียหาย สูญหาย ไฟไหม้ |
|||||
- ความเสียเนื่องจากการชน |
|
|
|
* |
* |
- สูญหาย/ไฟไหม้ |
|
|
|
|
|
3) ความคุ้มครองเพิ่มเติม (เอกสารแนบท้าย) |
|||||
- อุบัติเหตุส่วนบุคคล เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพถาวร (ผู้ขับขี่ 1 คน และผู้โดยสาร....คน) |
|
|
|
|
|
- ค่ารักษาพยาบาล (ผู้ขับขี่ 1 คน และผู้โดยสาร....คน) |
|
|
|
|
|
4) การประกันตัวผู้ขับขี่ |
|
|
|
|
|
*หมายเหตุ : คุ้มครองความเสียหายเนื่องจากการชน ที่มีคู่กรณีเป็นยานพาหนะที่สามารถจดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบกเท่านั้น
Motor Extended Warranty Insurance
It’s an extension of the manufacturer’s warranty covering the failure of both mechanical and electrical components for an extra one, two or three years over the manufacurting warranty period.
Normal Wear & Tear, Normal Deterioration, Drivers Negligence, Routine Maintenance, Service Items and Adjustments are not covered by this warranty If insurer can be accepted claim, Insurer will indemnify the reasonable cost of either repairing or replacing those components during period of insurance but it is limited to the market value of vehicle at date of repair.
การประกันภัยขยายการรับประกันเครื่องยนต์
เป็นการขยายระยะเวลาการรับประกันรถยนต์ของผู้ผลิตรถยนต์รายนั้นๆ ในความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดกับระบบของเครื่องยนต์ กลไก หรือระบบไฟฟ้าต่างๆในรถยนต์ โดยทั่วไปจะเป็นการขยายออกไปอีก 1 ถึง 3 ปี ซึ่งอาจมีการกำหนดเลขระยะทางเป็นตัวกำกับเอาไว้ด้วย
โดยส่วนให้กรมธรรม์จะไม่คุ้มครองการเสื่อมสภาพโดยธรรมชาติ, การขาดการบำรุงรักษาตามที่ผู้ผลิตแนะนำ, การขับขี่โดยประมาท, ความเสียหายที่คุ้มครองในกรมธรรม์รถยนต์, เป็นต้น การชดใช้ในกรมมธรรม์นี้จะเป็นการจ่ายโดยบริษัทประกันภัยสำหรับค่าซ่อม หรือเปลี่ยนอะไหล่ต่างๆ ในระยะเวลาที่เอาประกันภัย
Gap Insurance Gap Insurance is a policy designed to cover the Gap amount between what the car is worth and what you owe on the car. It would be trigger the coverage if the car is stolen or total loss. The cost of replacement of the car under Motor Insurance would not enough to cover amount of car loan and the owner still have to pay financial installment.
For example : You buy a car for Bt.2,000,000. And you put down payment at Bt.300,000 and your installment payment is Bt.20,000 per month. In six months later, your car got accidental totally loss. And your motor insurance company indemnify the full sum insured or at value of car at that time is Bt.1,200,000. You have made six monthly payments plus your down payment = Bt.420,000, you are still owe Bt.380,000 on that car. So this gap insurance will provide you the different amount Bt.380,000 between the collision insurance cover (Bt.1,200,000) and what you owe the car (1,580,000).
This gap insurance is most suit for :
การประกันภัยส่วนต่างมูลค่ารถยนต์ กับวงเงินสินเชื่อ
ป็นกรมธรรม์ที่ออกแบบเพื่อให้ความคุ้มครองส่วนต่างระหว่างมูลค่ารถยนต์เมื่อเกิดความเสีญหายกับจำนวนหนี้ที่เจ้าของรถยนต์ยังคงค้างอยู่ กรมธรรม์จะให้ความคุ้มครองก็ต่อเมื่อรถยนต์คันที่เอาประกันภัยเกิดสูญหาย หรือประสบอุบัติเหตุจนเกิดความเสียหายทั้งคันมีค่าซ่อมมากกว่า 70% ของทุนประกันรถยนต์ (Total Loss) และเงินที่ได้รับการชดใช้การประกันภัยรถยนต์นี้ไม่เพียงพอกับมูลหนี้ของการเช่าซื้อรถยนต์คันดังกล่าว
ตัวอย่าง : ท่านซื้อรถยนต์ราคา 2,000,000 บาท และได้มีการวางเงินดาว์นไว้ที่ 300,000 บาท ค่างวดชำระต่อเดือนอยู่ที่ 20,000 บาท 6 เดือนผ่านไปรถคันดังกล่าวเกิดถูกโจรกรรมสูญหายไป บริษัทประกันภัยรถยนต์ได้ชดใช้วงเงินที่เอาประกันรถยนต์คันดังกล่าวหรือราคาในขณะนั้นที่ 1,200,000 บาท ดังนั้นรวมเงินดาว์นและงวดที่ผ่อนชำระมา 6 เดือนอยู่ที่ 420,000 บาท เพราะฉะนั้นท่านเหลือมูลหนี้ที่ต้องผ่อนชำระอยู่ที่ 380,000 บาท ดังนั้นการประกันภัยส่วนต่างมูลค่ารถยนต์ กับวงเงินสินเชื่อจะชดใช้ที่ 380,000 บาท ซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างวงเงินประกันภัยรถยนต์ (1,200,000 บาท) และมูลค่าสินเชื่อที่เหลืออยู่ (1,580,000 บาท)
การประกันภัยส่วนต่างมูลค่ารถยนต์ กับวงเงินสินเชื่อนี้เหมาะกับ :